หรือนี่คืออวสานของเกียรธรรมดา


The prototype of 4.5 ton LPG truck was displayed both in the World LP Gas Forum in Seoul and also exhibited at the Gunsan International Auto Expo (GAEX) and it has already captured the imagination of the viewers as an environment- friendly truck which promotes low-carbon “green growth”.

Winning certification for low emission for diesel-fueled Euro IV HCV and MCV, low emission CNG truck- already in production, development of LNG truck together with Korea Gas Corporation and now the addition of LPG truck by Tata Daewoo are attributed to the success of investments made by the company in R&D and its commitment to clean-fuel technology.

With the development of the eco-friendly LPG truck, TDCV has strengthened its image as a socially responsible company determined to stay ahead by pioneering the use of cutting-edge environment friendly technology in the design, development and manufacture of commercial vehicles in Korea.


About Tata Daewoo Commercial Vehicle Co

Tata Daewoo Commercial Vehicle is a 100 percent subsidiary of India’s largest automobile company, Tata Motors. Acquired in March, 2004, Tata Daewoo has grown with higher investment, increased manpower strength and higher sales both in domestic and overseas markets.

Established in 1945, Tata Motors Limited is India’s largest automobile company, with revenues of USD 8.8 billion in 2007-08 and total employees of 22,000 working across the world. It is the leader in commercial vehicles in each segment, and the second largest in the passenger vehicles market. The company is the world’s fifth largest medium and heavy commercial vehicle manufacturer, and the world’s second largest medium and heavy bus manufacturer. Tata Motors’ presence indeed cuts across the length and breadth of India. Close to 4 million Tata vehicles run on Indian roads, since the first rolled out in 1954. The company’s manufacturing base is spread across Jamshedpur, Pune, Lucknow and Singur. Tata Motors, the first company from India’s engineering sector to be listed in the New York Stock Exchange (September 2004), has also emerged as an international automobile company. Tata Motors is also expanding its international footprint, established through exports since 1961. The company’s commercial and passenger vehicles are already being marketed in several countries in Europe, Africa, the Middle East, South Asia, South East Asia and South America. It has assembly operations in Bangladesh, Ukraine, Kenya, Russia and Senegal. In January 2008, Tata Motors unveiled TATA NANO, the People’s Car, designed for India’s low-income family and available at most affordable price, garnering world’s attention. In addition, in March 2008, the company acquired U.K. premium brand Jaguar and Land Rover from Ford and is reinforcing its global presence.

***********************************************


เสียงคำรามของเครื่องยนต์จากการจับปล่อยของคลัชตามจังหวะอารมณ์ของคนขับกำลังจะหมดไปแล้วหรือ


140 ไมล์ต่อตัวโมง ระบบส่งกำลังแบบไร้ซึ่งคลัช เกียรอัตโนมัติ 7 จังหวะกับเส้นทางตรงสนาม Pocono จากม้านาซีสี่ร้อยแรงผนวกกับเทคโนยีล่าสุดของ BMW M3 ทำให้ผมเกิดความสงสัยในอนาคตของเกียรธรรมดาขึ้นมา

คำถามเดิมถูกย้ำอีกครั้งจากโค้งขวาที่กำลังจะมาถึง ภาพการเหยียบคลัชลดเกียรเพื่อใช้เครื่องยนต์ช่วยเบรดถูกแทนที่จากปลายมือที่สัมผสแป้นเกียรโดนไม่ต้องคิดเรื่องคลัชหรือละมือใดเลยออกจากพวกมาลัย


อัตราการลดลงของเกียรธรรมดาอยู่ในระดับที่ใกล้สูญพันธ์ทีเดียว ในปี 1980 กว่า 35% ของรถที่ขายเป็นเกียรธรรมดาด้วยเพราะราคาและอัตราสิ้นเปลืองของรถเกียรธรรมดาที่ต่ำกว่า ยิ่งราคาน้ำมันสูงขึ้นเกียรธรรมดายิ่งเป็นที่นิยม


และเมื่อเข้าสู่ยุค SUV ซึ่งรถประเภทนี้ส่วนใหญ่ใช้เกียรอัตโมมัติ ในปี 2005 เพียง 6% ของผู้บริโภคต้องการใช้เกียรอัตโนมัติ แต่เมื่อราคาน้ำมันทะยานขึ้น ความต้องการใช้เกียรอัตโมมัตจึงปรับตัวขึ้นเล็กน้อยเป็น 7.7% ในปีที่ผ่านมา อย่างไรก็ดี แนวโน้มดังกล่าวเป็นที่ชัดเจนถึงการกำลังจะจากไปของเกียรธรรมดา


ปอร์ชน่าจะเป็นรายหนึ่งซึ่งน่าศึกษาทีเดียว ความต้องการใช้เกียรอัตโนมัตสำหรับรถสปอร์ตจะมีสูงกว่ารถประเภทอื่น ตัวเลขจะอยู่ที่ 60-65% ของรถสปอร์ตทั้งหมด แม้เป็นดังนี้ปอร์ชเชื่อว่าเกียรอัตโนมัตเป็นจุดขายสำคัญสำหรับคนรุ่นใหม่ซึ่งเริ่มต้นขับรถด้วยเกียรอัตโนมัติ ด้วยสาเหตุดังกล่าว ปอร์ชคาดไว้ว่า PDK dual-clutch อัตโนมัตจะเป็นที่นิยมโดยเชื่อว่า 70-80% ของ เจ้าของ 911 จะเลือกเกียรอัตโนมัติระบบดังกล่าว

ความเชื่อที่ว่าเกียรอัตโนมัติสิ้นเปลืองน้ำมันกว่าไม่เป็นความจริงอีกต่อไปแล้วจากตัวเลขความสิ้นเปลืองที่ปอร์ชเปิดเผย (19-27 mpg อัตโนมัติ 18/25 mpg เกียรธรรมดา) ทั้งนี้หลาย ๆ ค่ายต่างออกมายืนยันแล้วว่าเกียรอัตโนมัติรุ่นใหม่นั้นนั้นประหยัดกว่า

อีกความเชื่อที่ถูกนำมาโต้แย้งกันก็คือ เกียรอัตโนมัติแรงกว่า อีกความเชื่อที่ผิด ทั้งปอร์ชและค่ายรถยนต์ต่าง ๆ บรรจุเทคโนโลยีในการเปลี่ยนเกียรซึ่งควบคุมโดยคอมพิวเตอร์ไว้อย่างเต็มพิกัด ซึ่งแม้แต่นักแข่ง Formula 1 ที่เก่งที่สุดยังไม่สามารถเปลี่ยนเกียรได้เร็วและสมบูรณ์เท่าได้ การควมคุมในจุดนั้นนับได้ว่าเกินความสามารถของมนุษย์ไปแล้ว


ไม่ต่างจาก Chevy Corvette ซึ่งระบบส่งกำลังอัตโนมัติถูกพัฒนาไปอย่างล้ำหน้า ทั้งดีกว่าและเร็วกว่า สองในสามของผู้ซื้อเลือก เกียรอัตโนมัต 6 จังหวะซึ่งมาคู่กับแป้นเปลี่ยนเกียรที่พวงมาลัย ในส่วนของตัวเปิดประทุน 75% ไม่สนใจแป้นคลัชอีกต่อไป


Audi S Tronic บุกเบิกระบบ dual-clutch ซึ่งได้ถูกใช้ใน VW ต้องควัก $2000เพิ่มสำหรับเกียรอัตโนมัติ สำหรับปอร์ชแล้ว $4080 สำหรับ PDK ในส่วนของซุปเปอร์คาร์เช่น Nissan GT-R และรถราคาล้านเหรียญดังเช่น Bugatti Veyron มีให้เลือกแค่เดินจากไปหรือไม่ก็ใช้เกียรอัตโนมัติ ยังไม่รวมถึง Ferrari และ Lamborghini ซึ่งหาเกียรธรรมดายากเต็มที

Facebook Comments